14. วิทยาการคำนวณ ม.5 : บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล

รูปภาพนี้แสดงข้อมูลการวิ่งของคนในนิวยอร์ก โดยเส้นที่มีสีเข้ม หมายถึงเส้นทางที่มีคนวิ่งจำนวนมาก ถ้านักเรียนเป็นตำรวจจราจร จะนำภาพนี้ไปใช้ประโยชน์ในงานได้อย่างไร หรือถ้านักเรียนเป็นเจ้าของร้านอาหารไทย จะนำภาพนี้ใช้ในการวางแผนจัดการร้านของตนเองอย่างไร

สรุปเนื้อหาจากคลิปวิดีโอ # 1
การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยภาพ

การทำข้อมูลเป็นภาพ มีหลากหลายวิธีการ
นำมาทำเป็นแผนภูมิวงกลมก็จะทำให้มองเห็นความแตกต่างข้อมูลได้ง่าย
ข้อมูลในรูปแบบตารางอาจจะทำให้เข้าใจได้ยาก
นำมาทำเป็นกราฟเส้นก็จะมองเห็นว่าจีนนั้นเจริญเติบโตด้านท่องเที่ยวมากกว่าประเทศอื่น
นำมาทำแผนภาพการกระจายทำให้ทราบว่านักท่องเที่ยวจากจีนสร้างรายได้ต่อหัวได้มากกว่า
แผนภาพแต่ละอย่างมีจุดประสงค์ของการนำเสนอแตกต่างกัน

สรุปเนื้อหาจากคลิปวิดีโอ # 2
การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม

ตัวแปรในการมองเห็นของ จาคส์ เบอร์ติน
การจัดกลุ่ม
การแสดงลำดับ
เปลี่ยนสี เปลี่ยนความเข้มสร้างความโดดเด่น

การบ่งปริมาณ

ชวนคิดด้วยรูปร่างและสี

สรุปเนื้อหาจากคลิปวิดีโอ # 3
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ

หากภาพที่สื่อออกไปทำให้คนเข้าใจผิด ผู้ที่สื่อสารออกไปควรรับผิดชอบตามหลักจริยธรรม
ตัวอย่างนี้สื่อสารไม่เหมาะสม คือ 2.5 ล้านล้าน กับ 2 ล้านล้าน ขนาดถุงไม่ควรต่างกันมาก ส่วนภาพด้านขวา 2 ล้านล้านกับ 3.5 แสนล้าน ควรมีขนาดต่างกันเป็นอย่างมากกว่านี้
การใช้กราฟที่ผิด : หากมองผิวเผินสองกราฟนี้เท่ากันซึ่งที่จริงแล้วต่างกันที่เริ่มจาก 0
การใช้มุมเอียง : ทำให้ขนาดด้านซ้ายดูไม่ต่างกันมาก ซึ่งที่ถูกต้องคือด้านขวาที่มองเห็นชัดเจนว่าแตกต่างกัน

สรุปประเด็นการทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล

  • ช่วยให้เข้าใจได้ง่ายและเร็วขึ้น เนื่องจากเราประมวลภาพได้เร็วกว่าภาษา
  • มีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานที่เรานำมาใช้ได้
  • มีตัวแปรสำคัญๆ ที่นำมาช่วยสื่อสารได้เร็วขึ้น
  • การจะสื่อสาร ต้องเน้นที่จุดประสงค์ก่อน
  • ควรระวังไม่ให้เกิดการสื่อสารผิดพลาดด้วยภาพ

กิจกรรม นำเสนออย่างมืออาชีพ

ตรวจสอบกลุ่มที่ส่งงานแล้ว คลิกที่นี่


Comments are closed.